พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกก ทุก ติกนิบาต
อ่านโดย อาจิต โตเกียรติรุ่งเรือง
อ่านโดย อาจิต โตเกียรติรุ่งเรือง
#เล่มที่ ๒๐ พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกก ทุก ติกนิบาต ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๑ เอกกนิบาต ๑. รูปาทิวรรค หมวดว่าด้วยรูปเป็นต้นที่ครอบงำจิตบุรุษและสตรี ๒. นีวรณปหานวรรค หมวดว่าด้วยธรรมเป็นเหตุละนิวรณ์ ๓. อกัมมนิยวรรค หมวดว่าด้วยจิตที่ไม่ควรแก่การใช้งาน ๔. อทันตวรรค หมวดว่าด้วยจิตที่ไม่ได้ฝึก ๕. ปณิหิตอัจฉวรรค หมวดว่าด้วยผลแห่งจิตที่ตั้งไว้ผิดและถูก ๖. อัจฉราสังฆาตวรรค หมวดว่าด้วยผลแห่งจิตชั่วลัดนิ้วมือเดียว ๗. วีริยารัมภาทิวรรค หมวดว่าด้วยการปรารถความเพียรเป็นต้น ๘. กัลยาณมิตตาทิวรรค หมวดว่าด้วยกัลยาณมิตรเป็นต้น ๙. ปมาทาทิวรรค หมวดว่าด้วยความประมาทเป็นต้น ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๒ ๑๐. ทุติยปมาทาทิวรรค หมวดว่าด้วยความประมาทเป็นต้น หมวดที่ ๒ ๑๑. อธัมมวรรค หมวดว่าด้วยธรรมและอธรรม ๑๒. อนาปัตติวรรค หมวดว่าด้วยอาบัติและอนาบัติ ๑๓. เอกปุคคลวรรค หมวดว่าด้วยบุคลผู้เป็นเอก ๑๔. เอตทัคควรรค หมวดว่าด้วยเอตทัคคะ ๑. ปฐมวรรค หมวดที่ ๑ ๒. ทุติยวรรค หมดวที่ ๒ ๓. ตติยวรรค หมวดที่ ๓ ๔. ตุตถวรรค หมวดที่ ๔ ๕. ปัญจมวรรค หมวดที่ ๕ ๖. ฉัฏฐวรรค หมวดที่ ๖ ๗. สัตตมวรรค หมวดที่ ๗ ๑๕. อัฏฐานบาลี บาลีว่าด้วยความเป็นไปได้และเป็นไปไม่ได้ ๑. ปฐมวรรค หมวดที่ ๑ ๒. ทุติยวรรค หมวดที่ ๒ ๓. ตติยวรรค หมวดที่ ๓ ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๓ ๑๖. เอกธัมมบาลี บาลีว่าด้วยธรรมอันเป็นเอก ๑. ปฐมวรรค หมวดที่ ๑ ๒. ทุติยวรรค หมวดที่ ๒ ๓. ตติยวรรค หมวดที่ ๓ ๔. จตุตถวรรค หมวดที่ ๔ ๑๗. ปสาทกรธัมมวรรค หมวดว่าด้วยธรรมที่ทำให้เกิดความเลื่อมใส ๑๘. อปรอัจฉราสังฆาตวรรค หมวดว่าด้วยผลแห่งจิตชั่วลัดนิ้วมือเดียว อีกหมวดหนึ่ง ๑๙. กายคตาสติวรรค หมวดว่า้ดวยผลแห่งการเจริญกายคตาสติ ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๔ ๒๐. อมตวรรค หมวดว่าด้วยอมตธรรม ทุกนิบาต ๑. ปฐมปัณณาสก์ ๑. กัมมกรณวรรค หมวดว่าด้วยวิธีการลงโทษ ๑. วัชชสูตร ว่าด้วยโทษ ๒. ปธานสูตร ว่าด้วยความเพียรที่เกิดได้ยาก ๓. ตปนียสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็นเหตุแห่งความเดือดร้อน ๔. อตปนียสูตร ว่าด้วยธรรมที่ไม่เป็นเหตุแห่งความเดือดร้อน ๕. อุปัญญาตสูตร ว่า้ดวยธรรมที่เป็นเหตุให้ทรงรู้สัพพัญญุตญาณ ๖. สัญโญชนสูตร ว่าด้วยกิเลสที่ผูกมัดใจสัตว์ ๗. กัณหสูตร ว่าด้วยธรรมฝ่ายดำ ๘. สุกกสูตร ว่าด้วยธรรมฝ่ายขาว ๙. จริยสูตร ว่าด้วยจริยธรรมคุ้มครองโลก ๑๐. วัสสูปนายิกสูตร ว่าด้วยการเข้าพรรษา ๒. อธิกรณวรรค หมวดว่าด้วยอธิกรณ์ พระธรรมเทศนาองพระตถาคต ๒ แบบ เหตุให้อธิกรณ์ยืดเยื้อและไม่ยืดเยื้อ เหตุให้เกิดในทุคติและสุคติ โทษแห่งทุจริต ๕ อย่าง ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๕ อานิสงห์แห่งสุจริต ๕ อย่าง การละอกุศลและการบำเพ็ญกุศล ธรรมที่ทำให้ศาสนาเสื่อมและเจริญ ๓. พาลวรรค หมวดว่าด้วยคนพาล คติและฐานะ ๒ อย่างเป็นต้น ๔. สมจิตตวรรค หมวดว่าด้วยเทวดาพร้อมใจกัน การตอบแทนที่ทำได้ยาก วาทะ ๒ อย่าง ทักขิไณยบุคคล ๒ จำพวก บุคคลผู้มีสังโยชน์ ๒ จำพวก เหตุปัจจัยแห่งการวิวาท ภูมิคนแก่และภูมิคนหนุ่ม สมัย ๒ อย่าง การปฏิบัติที่ทรงสรรเสริญและไม่ทรงสรรเสริญ บุคคลผู้ทำให้ศาสนาเสื่อมและเจริญ ๕. ปริสวรรค หมวดว่าด้วยบริษัท ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๖ ๕. ปริสวรรค หมวดว่าด้วยบริษัท (ต่อ) ๒. ทุติยปัณณาสก์ ๑. ปุคคลวรรค หมวดว่าด้วยบุคคล เหตุที่กินนรไม่พูดภาษาคน สิ่งที่มาตุคามไม่อิ่ม การอยู่ร่วมกัน ๒ แบบ เหตุให้อธิกรณ์ยืดเยื้อและไม่ยืดเยื้อ ๒. สุขวรรค หมวดว่าด้วยสุข ๓. สนิมิตตวรรค หมวดว่าด้วยเหตุแห่งบาปอกุศล ๔. ธัมมวรรค หมวดว่าด้วยธรรม ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๗ ๕. พาลวรรค หมวดว่าด้วยคนพาลและบัณฑิต ๓. ตติยปัณณาสก์ ๑. อาสาทุปปชหวรรค หมวดว่าด้วยความหวังที่ละได้ยาก ๒. อายาจนวรรค หมวดว่าด้วยความปราถนา ๓. ทานวรรค หมวดว่าด้วยทาน ๔. สันถารวรรค หมวดว่าด้วยการรับรอง ๕. สมาปัตติวรรค หมดว่าด้วยสมาบัติ ๑. โกธเปยยาล ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๘ ๒. อกุสลเปยยาล ๓. วินยเปยยาล ติกนิบาต ๑. ปฐมปัณณาสก์ ๑. พาลวรรค หมวดว่าด้วยคนพาลและบัณฑิต ๑. ภยสูตร ว่าด้วยผู้เป็นภัยและไม่เป็นภัย ๒. ลักขณสูตร ว่าด้วยลักษณะคนพาลและบัณฑิต ๓. จินตีสูตร ว่าด้วยความคิดระหว่างคนพาลกับบัณฑิต ๔. อัจจยสูตร ว่าด้วยการเห็นโทษและไม่เห็นโทษ ๕. อโยนิโสสูตร ว่าด้วยการถาม-ตอบโดยไม่แยบคาย ๖. อกุสลสูตร ว่าด้วยอกุศลกรรม ๗. สาวัชชสูตร ว่าด้วยกรรมที่มีโทษ ๘. สัพยาปัชฌสูตร ว่าด้วยกรรมที่มีความเบียดเบียน ๙. ขตสูตร ว่าด้วยการบริหารตนให้ถูกกำจัด ๑๐. มลสูตร ว่าด้วยการละมลทิน ๒. รถการวรรค หมวดว่าด้วยช่างรถ ๑. ญาตสูตร ว่าด้วยภิกษุผู้มีชื่อเสียง ๒. สารณียสูตร ว่าด้วยสถานที่อันกษัตริย์และภิกษุพึงระลึกถึงตลอดชีวิต ๓. อาสังสสูตร ว่าด้วยความหวังทางโลกและทางธรรม ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๙ ๔. จักกวัตติสูตร ว่าด้วยความเป็นราชาของพระเจ้าจักรพรรดิและพระพุทธเจ้า ๕. ปเจตนสูตร ว่าด้วยพระเจ้าปเจตนะรับสั่งให้ช่างทำล้อรถ ๖. อปัณณกสูตร ว่าด้วยข้อปฏิบัติไม่ผิด ๗. อัตตพยาพาธสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตน ๘. เทวโลกสูตร ว่าด้วยเทวโลก ๙. ปฐมปาปณิกสูตร ว่าด้วยคุณสมบัติของพ่อค้า สูตรที่ ๑ ๑๐. ทุติยปาปณิกสูตร ว่าด้วยคุณสมบัติของพ่อค้า สูตรที่ ๒ ๓. ปุคคลวรรค หมวดว่าด้วยบุคคล ๑. สวิฏฐสูตร ว่าด้วยพระสวิฏฐะและมหาโกฏฐิตะ ๒. คิลานสูตร ว่าด้วยคนไข้และบุคคลผู้เปรียบด้วยคนไข้ ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๑๐ ๓. สังขารสูตร ว่าด้วยสังขาร ๔. พหุการสูตร ว่าด้วยบุคคลที่มีอุปการะมาก ๕. วชิรูปมสูตร ว่าด้วยบุคคลที่มีจิตเหมือนเพชร ๖. เสวิตัพพสูตร ว่าด้วยบุคคลที่ควรคบ ๗. ชิคุจฉิตัพพสูตร ว่าด้วยบุคคลที่ควรรังเกียจ ๘. คูถภาณีสูตร ว่าด้วยบุคคลผู้พูดภาษาคูถ ๙. อันธสูตร ว่าด้วยบุคคลตาบอด ๑๐. อวกุชชสูตร ว่าด้วยบุคคลมีปัญญาเหมือนหม้อคว่ำ ๔. เทวทูตวรรค หมวดว่าด้วยเทวฑูต ๑. สพรหมกสูตร ว่าด้วยสกุลที่มีพรหม ๒. อานันทสูตร ว่าด้วยพระอานนท์ทูลถามพระผู้มีพระภาค ๓. สารีปุตตสูตร ว่าด้วยพระสารีบุตรกราบทูลพระผู้มีพระภาค ๔. นิทานสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดแห่งกรรม ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๑๑ ๔. นิทานสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดแห่งกรรม (ต่อ) ๕. หัตถกสูตร ว่าด้วยหัตถกกุมารทูลถามถึงความสุข ๖. เทวฑูตสูตร ว่าด้วยเทวฑูต ๗. ยมราชสูตร ว่าด้วยพญายม ๘. จตุมหาราชสูตร ว่าด้วยท้าวมหาราชทั้ง ๔ ๘. ทุติยจตุมหาราชสูตร ว่าด้วยท้าวมหาราชทั้ง ๔ สูตรที่ ๒ ๙. สุขุมาลสูตร ว่าด้วยสุขุมาลชาติ ๑๐. อาธิปเตยยสูตร ว่าด้วยอาธิปไตย ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๑๒ ๕. จูฬวรรค หมวดว่าด้วยเรื่องเล็กน้อย ๑. สัมมุขีภาวสูตร ว่าด้วยความพร้อมแห่งธรรม ๒. ติฐานสูตร ว่าด้วยฐานะที่เป็นเหตุให้ทราบผู้มีศรัทธา ๓. อัตถวสสูตร ว่าด้วยอำนายประโยชน์ ๔. กถาปวัตติสูตร ว่าด้วยเหตุให้การสนทนาดำเนินไปได้ ๕. ปัณฑิตสูตร ว่า้ดวยกรรมที่บัณฑิตบัญญัติไว้ ๖. สีลวันตสูตร ว่าด้วยบรรชิตผู้มีศีล ๗. สังขตลักขณสูตร ว่าด้วยบักษณะที่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง ๘. อสังขตลักขณสูตร ว่าด้วยลักษณะที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง ๙. ปัพพตราชสูตร ว่าด้วยขุนเขาหิมพานต์ ๑๐. อาตัปปกรณียสูตร ว่าด้วยเหตุให้ทำความเพียร ๑๑. มหาโจรสูตร ว่าด้วยองค์ประกอบของมหาโจร ๒. ทุติยปัณณาสก์ ๑. พราหมณวรรค หมวดว่า้ดวยพราหมณ์ ๑. ปฐมเทวพราหมณสูตร ว่าด้วยพราหมณ์แก่ ๒ คน สูตรที่ ๑ ๒. ทุติยเทวพราหมณสูตร ว่าด้วยพราหมณ์แก่ ๒ คน สูตรที่ ๑ ๓. อัญญตรพราหมณสูตร ว่าด้วยพราหมณ์ผู้ทูลถามธรรมคุณ ๔. ปริพพาชกสูตร ว่าด้วยปริพาชกผู้ทูลถามธรรมคุณ ๕. นิพพุตสูตร ว่าด้วยพระนิพพาน ๖. ปโลกสูตร ว่าด้วยเหตุทำให้จำนวนมนุษย์มีน้อยลง ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๑๓ ๗. วัจฉโคตตสูตร ว่าด้วยปริพาชกชื่อว่าวัจฉโคตร ๘. ติกัณณสูตร ว่าด้วยพราหมณ์ชื่อติกัณณะ ๙. ชานุสโสณิสูตร ว่าด้วยพราหมณ์ชื่อว่าชานุสโสณิ ๑๐. สังคารวสูตร ว่าด้วยสังคารวพราหมณ์ ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๑๔ ๒. มหาวรรค หมวดว่าด้วยเรื่องใหญ่ ๑. ติตถายตนสูตร ว่าด้วยที่เกิดแห่งทิฏฐิเป็นดุจท่า ๒. ภยสูตร ว่าด้วยภัย ๓. เวนาคปุรสูตร ว่าด้วยหมู่บ้านพราหมณ์ชื่อเวนาคปุระ ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๑๕ ๔. สรภสูตร ว่าด้วยปริพาชกชื่อว่าสรภะ ๕. เกสปุตติสูตร ว่าด้วยกาลามะชาวเกสปุตตนิคม ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๑๖ ๖. สาฬหสูตร ว่าด้วยนายสาฬหะถามถึงหลักความเชื่อ ๗. กถาวัตถุสูตร ว่าด้วยเรื่องที่ควรกล่าว ๘. อัญญติตถิยสูตร ว่าด้วยพวกอัญเดียรถีย์ ๙. อกุสลมูลสูตร ว่าด้วยรากเหง้าของอกุศล ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๑๗ ๑๐. อุโปสถสูตร ว่าด้วยอุโบสถ ๓. อานันทวรรค หมวดว่าด้วยพระอานนท์ ๑. ฉันนสูตร ว่าด้วยฉันนปริพาชก ๒. อาชีวกสูตร ว่าด้วยสาวกของอาชีวก ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๑๘ ๓. มหานามสักกสูตร ว่าด้วยเจ้ามหานามศากยะ ๔. นิคัณฐสูตร ว่าด้วยนิครนถนาฏบุตร ๕. นิเวสกสูตร ว่าด้วยการชักชวนให้ตั้งมั่นในฐานะ ๖. ปฐมภวสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดแห่งภพ สูตรที่ ๑ ๗. ทุติยภวสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดแห่งภพ สูตรที่ ๒ ๘. สีลัพพตสูตร ว่าด้วยผลแห่งศีลและวัตร ๙. คันธชาตสูตร ว่าด้วยกลิ่นหอม ๑๐. จูฬนิกาสูตร ว่าด้วยโลกธาตุขนาดเล็ก ๔. สมณวรรค หมวดว่าด้วยสมณะ ๑. สมณสูตร ว่าด้วยกิจของสมณะ ๒. คัทรภสูตร ว่าด้วยภิกษุที่ไม่มีไตรสิกขาเปรียบเหมือนลาในฝูงโค ๓. เขตตสูตร ว่าด้วยกิจเบื้องต้นที่ควรทำในนา ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๑๙ ๔. วัชชีปุตตสูตร ว่าด้วยภิกษุวัชชีบุตร ๕. เสกขสูตร ว่าด้วยเสกขบุคคล ๖. ปฐมสิกขาสูตร ว่าด้วยไตรสิกขา สูตรที่ ๑ ๗. ทุติยสิกขาสูตร ว่าด้วยไตรสิกขา สูตรที่ ๒ ๘. ตติยสิกขาสูตร ว่าด้วยการบำเพ็ญไตรสิกขา สูตรที่ ๓ ๙. ปฐมสิกขัตตยสูตร ว่าด้วยไตรสิกขา สูตรที่ ๑ ๑๐. ทุติยสิกขัตตยสูตร ว่าด้วยไตรสิกขา สูตรที่ ๒ ๑๑. ปังกธาสูตร ว่าด้วยตำบลปังกธา ๕. โลณผลวรรค หมวดว่าด้วยก้อนเกลือ ๑. อัจจายิกสูตร ว่าด้วยกิจรีบด่วนของชาวนาและของภิกษุ ๒. ปวิเวกสูตร ว่าด้วยความสงัดจากกิเลส ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๒๐ ๓. สรทสูตร ว่าด้วยธรรมจักษุกับท้องฟ้าในสารทกาล ๔. ปริสาสูตร ว่าด้วยบริษัท ๕. ปฐมอาชานียสูตร ว่าด้วยองค์ประกอบของม้าอาชาไนย สูตรที่ ๑ ๖. ทุติยอาชานียสูตร ว่าด้วยอวค์ประกอบของม้าอาชาไนย สูตรที่ ๒ ๗. ตติยอาชานียสูตร ว่าด้วยองค์ประกอบของม้าอาชาไนย สูตรที ๓ ๘. โปตถกสูตร ว่าด้วยบุคคลที่เปรียบเหมือนผ้าเปลือกไม้ ๙. โลณผลสูตร ว่าด้วยผลกรรมกับก้อนเกลือ ๑๐. ปังสุโธวกสูตร ว่าด้วยคนล้างฝุ่นล้างทอง ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๒๑ ๑๑. นิมิตตสูตร ว่าด้วยนิมิต ๓. ตติยปัณณาสก์ ๑. สัมโพธวรรค หมวดว่าด้วยการตรัสรู้ ๑. ปุพเพวสัมโพธสูตร ว่าด้วยความดำริก่อนตรัสรู้ ๒. ปฐมอัสสาทสูตร ว่าด้วยคุณของโลก สูตรที่ ๑ ๓. ทุติยอัสสาทสูตร ว่าด้วยคุณของโลก สูตรที่ ๒ ๔. สมณพราหมณสูตร ว่าด้วยผู้ควรยกย่องว่าเป็นสมณะและพราหมณ์ ๕. รุณณสูตร ว่าด้วยการขับร้องคือการร้องไห้ในอริยวินัย ๖. อติตติสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เสพไม่รู้จักอิ่ม ๗. อรักขิตสูตร ว่าด้วยผู้้ไม่รักษาจิต ๘. พยาปันนสูตร ว่าด้วยจิตถึงความผิดปกติ ๙. ปฐมนิทานสูตร ว่าด้วยเหตุให้เกิดกรรม สูตรที่ ๑ ๑๐. ทุติยนิทานสูตร ว่าด้วยเหตุให้เกิดกรรม สูตรที ๒ ๒. อาปายิกวรรค หมวดว่าด้วยบุคคลผู้ต้องไปสู่อบายภูมิ ๑. อาปายิกสูตร ว่าด้วยบุคคลผู้ต้องไปสู่อบายภูมิ ๒. ทุลลภสูตร ว่าด้วยบุคคลหาได้ยาก ๓. อัปปเมยยสูตร ว่าด้วยบุคคลที่ประมาณไม่ได้ ๔. อาเนญชสูตร ว่าด้วยธรรมอันไม่หวั่นไหว ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๒๒ ๕. วิปัตติสัมปทาสูตร ว่าด้วยวิบัติและสัมปทา ๖. อปัณณกสูตร ว่าด้วยข้อปฏิบัติไม่ผิด ๗. กัมมันตสูตร ว่า้ดวยความวิบัติแห่งการงาน ๘. ปฐมโสเจยยสูตร ว่าด้วยความสะอาด สูตรที่ ๑ ๙. ทุติยโสเจยยสูตร ว่าด้วยความสะอาด สูตรที่ ๒ ๑๐. โมเนยยสูตร ว่า้ดวยความเป็นมุนี ๓. กุสินารวรรค หมวดว่าด้วยกรุงกุสินารา ๑. กุสินารสูตร ว่าด้วยพระธรรมเทศนาที่กรุงกุสินารา ๒. ภัณฑนสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งความบกพร่อง ๓. โคตมกเจติยสูตร ว่าด้วยพระธรรมเทศนาที่โคตมกเจดีย์ ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๒๓ ๔. ภรัณฑุกาลามสูตร ว่า้ดวยภรัณฑุดาบสกาลามโคตร ๕. หัตถกสูตร ว่าด้วยหัตถกเทพบุตร ๖. กฏวิยสูตร ว่าด้วยความมักใหญ่ ๗. ปฐมอนุรุทธสูตร ว่าด้วยพระอนุรุทธ สูตรที่ ๑ ๘. ทุติยอนุรุทธสูตร ว่าด้วยพระอนุรุทธ สูตรที่ ๒ ๙. ปฏิจฉันนสูตร ว่าด้วยสิ่งที่ปิดดี เปิดไม่ดี ๑๐. เลขสูตร ว่าด้วยบุคคลกับรอยขีด ๔. โยธาชีววรรค หมวดว่าด้วยนักรบอาชีพ ๑. โยธาชีวสูตร ว่าด้วยองค์ประกอบของนักรบ ๒. ปริสาสูตร ว่าด้วยบริษัท ๓. มิตตสูตร ว่าด้วยองค์ประกอบของมิตรแท้ ๔. อุปปาทาสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นแห่งพระตถาคต ๕. เกสกัมพลสูตร ว่่าด้วยวาทะของมักขลิเปรียบเหมือนผ้ากัมพลทอด้วยผมคน ๖. สัมปทาสูตร ว่าด้วยสัมปทา ๗. วุฑฒิสูตร ว่าด้วยวุฑฒิ ๘. อัสสขลุงกสูตร ว่า้ดวยม้ากระจอกและคนกระจอก ๙. อัสสสทัสสสูตร ว่าด้วยม้าดีและคนดี ####เล่มที่ ๒๐ ส่วนที่ ๒๔ ๑๐. อัสสาชานียสูตร ว่าด้วยม้าอาชาไนยและบุรุษอาชาไนย ๑๑. ปฐมโมรนิวาปสูตร ว่าด้วยอารามปริพาชกชื่อโมรนิวาปะ สูตรที่ ๑ ๑๒. ทุติยโมรนิวาปสูตร ว่าด้วยอารามปริพาชกชื่อโมรนิวาปะ สูตรที่ ๒ ๑๓. ตติยโมรนิวาปสูตร ว่าด้วยอารามปริพาชกชื่อโมรนิวาปะ สูตรท่ี ๓ ๕. มังคคลวรรค หมวดว่าด้วยมงคล ๑. อกุสลสูตร ว่าด้วยอกุศลกรรมเป็นเหตุให้ตกนรก ๒. สาสัชชสูตร ว่าด้วยกรรมที่มีโทษเป็นเหตุให้ตกนรก ๓. วิสมสูตร ว่าด้วยกรรมที่ไม่สม่ำเสมอเป็นเหตุให้ตกนรก ๔. อสุจิสูตร ว่าด้วยกรรมที่ไม่สะอาดเป็นเหตุให้ตกนรก ๕. ปฐมขตสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตนถูกทำลาย สูตรที่ ๑ ๖. ทุติยขตสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตนถูกทำลาย สูตรที่ ๒ ๗. ตติยขตสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตนถูกทำลาย สูตรที่ ๓ ๘. จตุตถขตสูตร ว่าด้วยเหตุให้ตนถูกทำลาย สูตรที่ ๔ ๙. วันทนาสูตร ว่าด้วยการไหว้ ๑๐. ปุพพัณหสูตร ว่าด้วยเวลาเช้าเป็นฤกษ์ดีเป็นต้น ๖. อเจลกวรรค หมวดว่าด้วยคนเปลือย ว่าด้วยปฏิปทา ๓ อย่าง (๑. สติปัฏฐานสูตร) (๒. สัมมัปปธานสูตร) (๓. อิทธิปาทสูตร) (๔. อินทริยสูตร) (๕. พลสูตร) (๖. สัมโพชฌังคสูตร) (๗. มัคคสูตร) ๗. กัมมปถเปยยาล ว่าด้วยธรรม ๓ ประการมีหลายนัย (๑. ปาณ - อปาณสูตร) (๒. อทินนาทาน - อนทินนาทานสูตร) (๓. มิจฉา - สัมมาสูตร) (๔. มุสาวาที - อมุสาวาทีสูตร) (๕. ปิสุณา - อปิสุณาสูตร) (๖. ผรุส - อผรุสสูตร) (๗. สัมผัปปลาป - อสัมผัปปลาปสูตร) (๘. อภิชฌา - อนภิชฌาสูตร) (๙. พยาปาท - อัพยาปาทสูตร) (๑๐. มิจฉาทิฏฐิ - สัมมาทิฏฐิสูตร) ๘. ราคเปยยาล
ขอบุญกุศลที่เกิดจากการจัดทำ และเผยแผ่เป็นธรรมทานของ “พระไตรปิฎก ภาคเสียงอ่าน” นี้ จงสำเร็จแก่บิดามารดา ญาติทั้งหลาย ครูอาจารย์ ผู้มีพระคุณทั้งมนุษย์ อมนุษย์ พรหม เทพเทวา เจ้ากรรมนายเวร และสรรพสัตว์ทั้งหลายใน ๓๑ ภพภูมิ
ขอให้บุญกุศลนี้ เป็นปัจจัยให้ข้าพเจ้าทั้งหลาย รวมตลอดถึงสรรพสัตว์ทั้งหลายไม่มีประมาณ จงพ้นจากความทุกข์โดยพลัน และประสพความสุขความเจริญ ด้วยมนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ และนิพพานสมบัติเป็นอย่างยิ่ง
คณะผู้ร่วมจัดทำเผยแผ่เพื่อเป็นธรรมทาน
พระไตรปิฎก ภาคเสียงอ่าน ฉบับมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ทั้งหมด ๔๕ เล่ม พร้อมเนื้อเสียง และดนตรีประกอบทั้งชุด อ่านและจัดทำขึ้นโดย นางอาจิต โตเกียรติรุ่งเรือง ฉบับนี้ ถูกจัดทำขึ้นเพื่อเป็นธรรมทานในการเผยแพร่และเผยแผ่ พระธรรมคำสอนของพระบรมศาสดาอรหันต์สัมมาสัมพุทธเจ้า เท่านั้น ผู้จัดทำและคณะผู้จัดทำ ไม่อนุญาติให้ บุคคลใดๆ คณะบุคคล และหรือ นิติบุคคลอื่นใดๆ ให้ใช้สื่อดังกล่าว เนื้อเสียง ดนตรีประกอบ ส่วนหนึ่งส่วนใด หรือทั้งหมด เพื่อการทำขึ้นใหม่ คัดลอก ลดทอน เพิ่มเติม ดัดแปลง แก้ไข เปลี่ยนแปลง ตัดต่อ ทำซ้ำ หรือทำสำเนาใหม่ เพื่อเผยแพร่และหรือเพื่อความบันเทิง จรรโลงใจ พึงพอใจ ทั้งที่เป็นไปเพื่อส่วนตน ส่วนรวม และสาธารณะ อันเป็นไปเพื่อการ จัดจำหน่าย จ่าย แจก แลกเปลี่ยน ขาย ทั้งเพื่อให้ได้มาซึ่งการค้า เงินตรา สินจ้าง สินน้ำใจ และหรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นใดๆ อันมาจากการกระทำทั้งที่เจตนาและไม่เจตนา โดยมิได้รับอนุญาติจากผู้จัดทำและหรือคณะผู้จัดทำเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน ผู้ใดฝ่าฝืนกระทำการใดๆตามข้อห้ามที่ระบุ หรือ เกี่ยวเนื่องกับที่ระบุไว้เบื้องต้น จะมีบทลงโทษตามกฎหมาย
หากท่านใดต้องการชุด พระไตรปิฎก ภาคเสียงอ่าน นี้ ครบสมบูรณ์ทั้งชุด เพื่อนำไปถวายพระภิกษุสงฆ์ โปรดติดต่อ “กองทุนเผยแผ่ธรรมเพื่อชีวิตที่งดงาม” โทร. ๐๙๔ ๒๙๑ ๙๕๙๖