พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส
อ่านโดย อาจิต โตเกียรติรุ่งเรือง
อ่านโดย อาจิต โตเกียรติรุ่งเรือง
#เล่มที่ ๒๙ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๑ อัฏฐกวรรค ๑. กามสุตตนิทเทส อธิบายกามสูตร ว่าด้วยกาม ๒ อย่าง ว่าด้วยการละกามโดยเหตุ ๒ อย่าง ว่าด้วยบุคคลที่ละกามได้โดยการข่มไว้ ๑๐ จำพวก ว่าด้วยบุคคลที่ละกามได้โดยการข่มไว้ ๘ จำพวก ว่าด้วยบุคลที่ละกามได้โดยการตัดขาด ๔ จำพวก ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๒ ว่าด้วยอันตราย ๒ อย่าง ว่าด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นมลทินภายใน ว่าด้วยผู้มีสติทุกเมื่อ ๒. คุหัฏฐกสุตตนิทเทส อธิบายคุหัฏฐกสูตร ว่าด้วยนรชนผู้ข้องอยู่ในถ้ำคือกาย ว่าด้วยวิเวก ๓ อย่่าง ว่าด้วยกาม ๒ อย่าง ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๓ ว่าด้วยกาม ๒ อย่าง (ต่อ) ว่าด้วยกาม ๒ อย่าง ว่าด้วยความตระหนี่ ๕ อย่าง ว่าด้วยสิกขา ๓ ว่าด้วยชีวิตเป็นของน้อยด้วยเหตุ ๒ ประการ ว่าด้วยปัญญาที่เรียกว่า ธี ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๔ ว่าด้วยหมู่สัตว์ดิ้นรนอยู่ในโลกเพราะตัณหา ว่าด้วยความยึดถือ ๒ อย่าง ว่าด้วยผัสสะต่างๆ ว่าด้วยปริญญา ๓ ว่าด้วยความไม่ประมาท ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๕ ๓. ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส อธิบายทุฏฐัฏฐกสูตร ว่าด้วยเดียรถีย์ประทุษร้ายมุนี ว่าด้วยกิเลสเครื่องตรึงจิต ๓ ประการ ว่าด้วยทิฏฐิ ว่าด้วยศีลและวัตร ว่าด้วยผู้ได้ชื่อว่าภิกษุ ว่าด้วยผู้มีอริยธรรม ว่าด้วยการเชิดชู ๒ อย่าง ว่าด้วยสันติ ๓ อย่าง ว่าด้วยความถือมั่น ว่าด้วยการสลัดทิ้ง ๒ อย่าง ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๖ ว่าด้วยปัญญาเครื่องกำจัด ว่าด้วยความหลอกลวงและความถือตัว ว่าด้วยความถือมั่น ๒ อย่าง ว่าด้วยความเห็นว่ามีตนและไม่มีตน ๔. สุทธัฏฐกสุตตนิทเทส อธิบายสุทธัฏฐกสูตร ว่าด้วยผู้พิจารณาเห็นความหมดจด ว่าด้วยความหมดจดเป็นต้น ว่าด้วยความเชื่อถือว่า เป็นมงคล ไม่เป็นมงคล ว่าด้วยความหมดจดด้วยศึลและวัตร ว่าด้วยการละบุญและบาป ว่าด้วยการละตน ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๗ ว่าด้วยการจับๆ ปล่อยๆ พ้นกิเลสไม่ได้ ว่าด้วยการดำเนินไปลุ่มๆ ดอนๆ ว่าด้วยผู้รู้ธรรม ๗ ประการ ว่าด้วยเสนามาร ว่าด้วยคุณลักษณะของสัตบุรุษ ว่าด้วยพระอรหันต์ ๕. ปรมัฏฐกสุตตนิทเทส อธิบายปรมัฏฐกสูตร ว่าด้วยผู้ยึดถืออยู่ในทิฏฐิ ว่าด้วยอานิสงส์ในทิฏฐิ ว่าด้วยความเห็นของผู้ฉลาด ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๘ ว่าด้วยภิกษุไม่พึงมีทิฏฐิมานะ ว่าด้วยภูมิธรรมของพระอรหันต์ ว่าด้วยพระอรหันต์ได้ชื่อว่าพราหมณ์ ว่าด้วยการกำหนด ๒ ว่าด้วยพระอรหันต์ชื่อว่าเป็นผู้มั่นคง ๖. ชราสุตตนิทเทส อธิบายชราสูตร ว่าด้วยชรา ว่าด้วยชีวิตเป็นของน้อยด้วยเหตุ ๒ ประการ ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๙ ว่าด้วยคนเศร้าโศกเพราะการยึดถือ ว่าด้วยการยึดถือเบญจขันธ์ ว่าด้วยสิ่งที่เกี่ยวข้องอุปมาเหมือนความฝัน ว่าด้วยสิ่งต่างๆ สลายไปเหลือแต่ชื่อ ว่าด้วยความตระหนี่ ๕ อย่าง ว่าด้วยโมเนยยธรรม ๓ ประการ ว่าด้วยผู้ประพฤติหลีกเร้น ว่าด้วยสิ่งเป็นที่รัก ๒ จำพวก ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๑๐ ๗. ติสสเมตเตยยสุตตนิทเทส อธิบายติสสเมตเตยยสูตร ว่าด้วยปัญหาของติสสเมตเตยยะ ว่าด้วยเมถุนธรรม ว่าด้วยวิเวก ๓ อธิบายคำว่า ภควา ว่าด้วยคำสอน ๒ ส่วน ว่าด้วยผู้บวชแล้วสึก ว่าด้วยยศและเกียรติ ว่าด้วยสิกขา ๓ ว่าด้วยข้อเสียของภิกษุ ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๑๑ ว่าด้วยศัสตรา ๓ อย่าง ว่าด้วยมุสาวาท ว่าด้วยต้นตรงปลายคด ว่าด้วยการลงโทษ ว่าด้วยปฏิปทาของมุนี ๘. ปสูรสุตตนิทเทส อธิบายปสูรสูตร ว่าด้วยปริพาชกชื่อว่าปสูระ ว่าด้วยการยกวาทะ ว่าด้วยแกพ้วาทะแล้วขัดเคือง ว่าด้วยถูกข่มด้วยวาทะแล้วเสียใจ ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๑๒ ว่าด้วยโทษของการวิวาท ว่าด้วยวิวาทกันเพราะทิฏฐิ ว่าด้วยเสนามาร ว่าด้วยพระปัญญาของพระพุทธเจ้า ๙. มาคันทิยสุตตนิทเทส อธิบายมาคันทิยสูตร ว่าด้วยเมถุนธรรม ว่าด้วยทิฏฐิ ๖๒ ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๑๓ ว่าด้วยทิฏฐิ ๖๒ (ต่อ) ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๑๔ ว่าด้วยทิฏฐิ ๖๒ (ต่อ) ๑๐. ปุราเภทสุตตนิทเทส อธิบายปุราเภทสูตร ว่าด้วยก่อนการดับขันธปรินิพพาน ว่าด้วยคำถามของพระพุทธเนรมิต อธิบายคำว่า ภควา ว่าด้วยความมุ่งหวัง ๒ อย่าง ว่าด้วยเหตุเกิดความโกรธ ๑๐ อย่าง ว่าด้วยผู้ไม่สะดุ้ง ว่าด้วยผู้ไม่โอ้อวด ว่าด้วยผู้ไม่คะนอง ว่าด้วยปัญญาเรียกว่า มันตา ว่าด้วยการสำรวมวาจา ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๑๕ ว่าด้วยผู้ไม่มีตัณหา ว่าด้วยผู้ไม่เศร้าโศก ว่าด้วยผัสสะ ว่าด้วยผู้หลิกเร้น ว่าด้วยความหลอกลวง ๓ อย่าง ว่าด้วยความตระหนี่ ๕ อย่าง ว่าด้วยความคะนอง ๓ อย่าง ว่าด้วยผู้น่ารังเกียจและไม่น่ารังเกียจ ว่าด้วยผู้มีวาจาส่อเสียด ว่าด้วยกามคุณ ๕ ว่าด้วยความดูหมิ่น ว่าด้วยผ้มีปฏิภาณ ๓ จำพวก ว่าด้วยผู้รู้ธรรมแล้วไม่ต้องเชื่อใครอีก ว่าด้วยผู้ไม่คลายกำหนัด ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๑๖ ว่าด้วยศึกษาเพราะอยากได้ลาภ ว่าด้วยโกรธเพราะการไม่ได้ ว่าด้วยอุเบกขามีองค์ ๖ ว่าด้วยกิเลสหนา ๗ อย่าง ว่าด้วยที่อาศัย ว่าด้วยตัณหา ว่าด้วยกิเลสเครื่องร้อยรัด ๔ อย่าง ว่าด้วยตัณหามีชื่อต่างๆ ว่าด้วยบุตรเป็นต้น ว่าด้วยทิฏฐิ ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๑๗ ว่าด้วยทิฏฐิ (ต่อ) ว่าด้วยการเชิดชู ๒ อย่าง ว่าด้วยการกำหนด ๒ อย่าง ว่าด้วยผู้ไม่มีความถือว่าเป็นของตน ว่าด้วยผู้ไม่เศร้าโศก ว่าด้วยผู้ไม่ลำเอียง ว่าด้วยผู้สงบ ๑๑. กลหวิวาทสุตตนิทเทส อธิบายกลหวิวาทสูตร ว่าด้วยการทะเลาะวิวาท ว่าด้วยความคร่ำครวญ ว่าด้วยความเศร้าโศก ว่าด้วยผู้มีวาจาส่อเสียด ว่าด้วยการทะเลาะเป็นต้น มาจากสิ่งเป็นที่รัก ว่าด้วยอะไรเป็นต้นเหตุแห่งสิ่งที่เป็นที่รัก ว่าด้วยสิ่งเป็นที่รัก ๒ จำพวก ว่าด้วยความหวัง ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๑๘ ว่าด้วยฉันทะเป็นต้น มีอะไรเป็นต้นเหตุ ว่าด้วยความเกิดแห่งรูป ว่าด้วยการตัดสินใจ ว่าด้วยเหตุให้เกิดความโกรธ ว่าด้วยเหตุให้เกิดการกล่าวเท็จ ว่าด้วยเหตุให้เกิดความสงสัย ว่าด้วยสิกขา ๓ ว่าด้วยธรรมที่พระสมณะทรงทราบ ว่าด้วยต้นเหตุความดีใจและความเสียใจ ว่าด้วยต้นเหตุแห่งผัสสะ ว่าด้วยความยึดถือมีต้นเหตุมาจากความปรารถนา ว่าด้วยมหาภูตรูป ๔ ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๑๙ ว่าด้วยมหาภูตรูป ๔ (ต่อ) ว่าด้วยธรรมเป็นเครื่องเนิ่นช้า ว่าด้วยความหมดจดแห่งอรูปสมาบัติ ว่าด้วยปัญญาเครื่องพิจารณา ๑๒. จูฬวิยูหสุตตนิทเทส อธิบายจูฬวิยูหสูตร ว่าด้วยการวิวาทกันเพราะทิฏฐิสูตรเล็ก ว่าด้วยวิวาทกันเพราะถือทิฏฐิ ว่าด้วยสัจจะมีอย่างเดียว ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๒๐ ว่าด้วยความจริงไม่ต่างกัน เจ้าลัทธิแสดงความดูหมิ่่นผู้อื่น เจ้าลัทธิเห็นคนอื่นเป็นพาล ทิฏฐิ ๖๒ ตรัสเรียกว่าอติสารทิฏฐิ ทิฏฐิเรียกว่าติตถะ ว่าด้วยทิฏฐิของพวกเดียรถีย์ ๑๓. มหาวิยูหสุตตนิทเทส อธิบายมหาวิยูหสูตร ว่าด้วยการวิวาทกันเพราะทิฏฐิสูตรใหญ่ ว่าด้วยผลแห่งการวิวาท ๒ อย่าง ว่าด้วยกิเลสเป็นเหตุเข้าถึง ๒ อย่าง ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๒๑ ว่าด้วยผู้มีกุศลถึงพร้อมประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ว่าด้วยการสมาทานวัตรต่างๆ ว่าด้วยเหตุให้เคลื่อนจากศีลวัตร ว่าด้วยกรรมมีโทษและกรรมไม่มีโทษ ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๒๒ ว่าด้วยกรรมมีโทษและกรรมไม่มีโทษ (ต่อ) ว่าด้วยเหตุที่ติเตียนมี ๒ อย่าง ว่าด้วยภาระ ๓ อย่าง ว่าด้วยโมเนยยธรรม ๓ ประการ อธิบายคำว่า ภควา ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๒๓ ๑๔. ตุวฏกสุตตนิทเทส อธิบายตุวฏกสูตร ว่าด้วยภิกษุผู้กำจัดบาปธรรมอย่างเร็วพลัน ว่าด้วยการถาม ๓ อย่าง ว่าด้วยวิเวก ๓ อย่าง ว่าด้วยธรรมเป็นเครื่องเนิ่นช้า ว่าด้วยผู้มีสติด้วยเหตุ ๔ ว่าด้วยมานะ ว่าด้วยกิเลสเครื่องฟูใจ ๗ อย่าง ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๒๔ ว่าด้วยพระจักษุ ๕ ชนิด ว่าด้วยอันตราย ๒ อย่าง ว่าด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นมลทินภายใน ว่าด้วยเรื่องผู้มีตาลอกแลก ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๒๕ ว่าด้วยโรคต่างๆ ว่าด้วยภัยและความขลาดกลัว ว่าด้วยข้าวน้ำและของขบเคี้ยว ว่าด้วยผู้มีฌาน ว่าด้วยเรื่องผู้มีเท้าอยู่ไม่สุข ว่าด้วยความไม่ประมาท ว่าด้วยเรื่องการแบ่งเวลา ว่าด้วยความเกียจคร้าน ว่าด้วยการเล่น ๒ อย่าง ว่าด้วยการประดับตกแต่ง ๒ อย่าง ว่าด้วยการทำอาถรรพณ์ ว่าด้วยการทำนายฝัน ว่าด้วยการทำนายลักษณะ ว่าด้วยการดูฤกษ์ยาม ว่าด้วยการบำบัดรักษาโรค ว่าด้วยไม่หวั่นไหวเพราะนินทาและสรรเสริญ ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๒๖ ว่าด้วยกิเลส ว่าด้วยการพูดเลียบเคียง ว่าด้วยผู้ไม่โอ้อวด ว่าด้วยการกล่าววาจามุ่งได้ ว่าด้วยความคะนอง ๓ อย่าง ว่าด้วยมุสาวาท ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๒๗ ว่าด้วยมุสาวาท (ต่อ) ๑๕. อัตตทัณฑสุตตนิทเทส อธิบายอัตตทัณฑสูตร ว่าด้วยความกลัวเกิดจากโทษของตน ว่าด้วยทุกข์ต่างๆ ว่าด้วยโลก ว่าด้วยสังขารไม่เที่ยง ว่าด้วยลูกศร ๗ ชนิด ว่าด้วยภาวะของสัตว์ที่ถูกลูกศรแทง ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๒๘ ว่าด้วยการศึกษาเพื่อได้กามคุณ ว่าด้วยความเป็นผู้หลอกลวง ว่าด้วยความเกียจคร้าน ว่าด้วยการทำบุญมุ่งนิพพาน ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๒๙ ว่าด้วยความถือตัวมีนัยต่างๆ ว่าด้วยกิเลสเครื่องเกี่ยวข้อง ว่าด้วยตัณหาตรัสเรียกว่าห้วงน้ำใหญ่ ว่าด้วยอมตนิพพานตรัสเรียกว่าบก ว่าด้วยกาม ๒ อย่าง ว่าด้วยตัณหาตรัสเรียกว่ากระแส ว่าด้้วยอนาคตตรัสเรียกว่าส่วนภายหลัง ว่าด้วยนามรูป ว่าด้วยผู้ไม่เศร้าโศก ว่าด้วยความเสื่อมมีแก่ผู้ยึดถือ ว่าด้วยอิทัปปัจจยตา ว่าด้วยโลกว่าง ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๓๐ ว่าด้วยผู้ไม่ริษยา ว่าด้วยผู้ไม่หวั่นไหว ว่าด้วยคุณสมบัติของมุนี ๑๖. สารีปุตตสุตตนิทเทส อธิบายสารีปุตตสูตร ว่าด้วยพระสารีบุตรกล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณ ว่าด้วยสุรเสียงของพระพุทธเจ้าประกอบด้วยองค์ ๘ ว่าด้วยพระพุทธเจ้าทรงเป็นพระคณาจารย์ ว่าด้วยพระพุทธเจ้าปรากฏแก่เทวดาและมนุษย์ ว่าด้วยพระจักษุ ๕ ชนิด ว่าด้วยพระพุทธเจ้าทรงเป็นเอกบุรุษ ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๓๑ ว่าด้้วยพระนามของพระพุทธเจ้า ว่าด้วยตัณหาทิฏฐิ ว่าด้วยผู้มั่นคงด้วยอาการ ๕ อย่าง ว่าด้วยเรื่องหลอกลวง ๓ อย่าง ว่าด้วยพระพุทธเจ้าทรงเป็นพระคณาจารย์ ว่าด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นมลทินภายใน ว่าด้วยทิศที่ไม่เคยไป ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๓๒ ว่าด้วยความบริสุทธิ์แห่งวาจา ว่าด้วยอโคจรและโคจร ว่าด้วยศีลและวัตร ว่าด้วยการอบรมตน ว่าด้วยการสมาทานสิกขา ๓ ว่าด้วยการกำจัดมลทิน อธิบายคำว่า ภควา ว่าด้วยภิกษุผู้เป็นนักปราชญ์ ว่าด้วยสหธรรมิก ว่าด้วยความหนาวมีด้วยเหตุ ๒ อย่าง ว่าด้วยการแผ่เมตตา ว่าด้วยความโกรธและความดูหมิ่น ว่าด้วยการมีปีติและการเชิดชูปัญญา ว่าด้วยความวิตกเป็นเหตุรำพัน ว่าด้วยการได้อาหารและเครื่องนุ่งห่มโดยชอบธรรม ว่าด้วยความรู้จักประมาณ ๒ อย่าง ####เล่มที่ ๒๙ ส่วนที่ ๓๓ ว่าด้วยความรู้จักประมาณ ๒ อย่าง (ต่อ) ว่าด้วยความตรึก ๙ อย่าง ว่าด้วยธุลี ๕ อย่าง ว่าด้วยจิตหลุดพ้น ๑๒ ขั้น ว่าด้วยกาลแห่งสมถะและวิปัสสนา อธิบายคำว่า ภควา
ขอบุญกุศลที่เกิดจากการจัดทำ และเผยแผ่เป็นธรรมทานของ “พระไตรปิฎก ภาคเสียงอ่าน” นี้ จงสำเร็จแก่บิดามารดา ญาติทั้งหลาย ครูอาจารย์ ผู้มีพระคุณทั้งมนุษย์ อมนุษย์ พรหม เทพเทวา เจ้ากรรมนายเวร และสรรพสัตว์ทั้งหลายใน ๓๑ ภพภูมิ
ขอให้บุญกุศลนี้ เป็นปัจจัยให้ข้าพเจ้าทั้งหลาย รวมตลอดถึงสรรพสัตว์ทั้งหลายไม่มีประมาณ จงพ้นจากความทุกข์โดยพลัน และประสพความสุขความเจริญ ด้วยมนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ และนิพพานสมบัติเป็นอย่างยิ่ง
คณะผู้ร่วมจัดทำเผยแผ่เพื่อเป็นธรรมทาน
พระไตรปิฎก ภาคเสียงอ่าน ฉบับมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ทั้งหมด ๔๕ เล่ม พร้อมเนื้อเสียง และดนตรีประกอบทั้งชุด อ่านและจัดทำขึ้นโดย นางอาจิต โตเกียรติรุ่งเรือง ฉบับนี้ ถูกจัดทำขึ้นเพื่อเป็นธรรมทานในการเผยแพร่และเผยแผ่ พระธรรมคำสอนของพระบรมศาสดาอรหันต์สัมมาสัมพุทธเจ้า เท่านั้น ผู้จัดทำและคณะผู้จัดทำ ไม่อนุญาติให้ บุคคลใดๆ คณะบุคคล และหรือ นิติบุคคลอื่นใดๆ ให้ใช้สื่อดังกล่าว เนื้อเสียง ดนตรีประกอบ ส่วนหนึ่งส่วนใด หรือทั้งหมด เพื่อการทำขึ้นใหม่ คัดลอก ลดทอน เพิ่มเติม ดัดแปลง แก้ไข เปลี่ยนแปลง ตัดต่อ ทำซ้ำ หรือทำสำเนาใหม่ เพื่อเผยแพร่และหรือเพื่อความบันเทิง จรรโลงใจ พึงพอใจ ทั้งที่เป็นไปเพื่อส่วนตน ส่วนรวม และสาธารณะ อันเป็นไปเพื่อการ จัดจำหน่าย จ่าย แจก แลกเปลี่ยน ขาย ทั้งเพื่อให้ได้มาซึ่งการค้า เงินตรา สินจ้าง สินน้ำใจ และหรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นใดๆ อันมาจากการกระทำทั้งที่เจตนาและไม่เจตนา โดยมิได้รับอนุญาติจากผู้จัดทำและหรือคณะผู้จัดทำเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน ผู้ใดฝ่าฝืนกระทำการใดๆตามข้อห้ามที่ระบุ หรือ เกี่ยวเนื่องกับที่ระบุไว้เบื้องต้น จะมีบทลงโทษตามกฎหมาย
หากท่านใดต้องการชุด พระไตรปิฎก ภาคเสียงอ่าน นี้ ครบสมบูรณ์ทั้งชุด เพื่อนำไปถวายพระภิกษุสงฆ์ โปรดติดต่อ “กองทุนเผยแผ่ธรรมเพื่อชีวิตที่งดงาม” โทร. ๐๙๔ ๒๙๑ ๙๕๙๖